วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี
เอกลักษณ์คุณธรรมของวิทยาลัยฯ
สร้างคนจากชุมชน เพื่อตอบสนองระบบสุขภาพในชุมชน
“วินัย หน้าที่ สามัคคี เสียสละ สัจจะ กตเวที”
Disclipline, Duty, Unity, Sacrifice, Truth, Appreciation
ปรัชญา (Philosophy ) ของวิทยาลัยฯ
“ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ” หมายถึง ในหมู่มนุษย์ ผู้ประเสริฐสุดคือ คนที่ฝึกแล้ว
ปณิธาน (Determination statement) ของวิทยาลัยฯ
วิทยาลัยฯ ของชุมชน ฝึกฝนวิชาการ
พร้อมสานคุณธรรม เป็นผู้นำด้านสุขภาพ
ปรัชญา (Philosophy ) ของคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
“จัดการศึกษาแบบบูรณาการผสานความรู้สู่ชุมชน พัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพเพื่อให้การบริการสุขภาพ”
ปณิธาน (Determination statement) ของคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
สร้างบ้าน สร้างคน สร้างชุมชน สร้างสุขด้วย “สบช.” Transformations
ปณิธาน (Pledge) ของสถาบันพระบรมชชนก
“ปัญญาเพื่อชุมชม (Wisdom for Community)”
ค่านิยมร่วมสถาบันพระบรมราชชนก : สบช. (Core Values)
P : Participation (ร่วมแรงร่วมใจ)
B : Bonding (รักใคร่ผูกพัน)
R : Responsibility (มุ่งมั่นรับผิดชอบ)
I : Integrity (ส่งมอบคุณธรรม)
ค่านิยมหลัก “PHAS”
P : Participation (ร่วมแรงร่วมใจ)
H : Happiness (สร้างความสุขกาย-จิต)
A : Altruism (มุ่งผลเพื่อผู้อื่น)
S : Self-literacy (รอบรู้ในตนเอง)
อัตลักษณ์คุณธรรมบัณฑิตของสถาบันพระบรมราชชนก
วินัย หน้าที่ สามัคคี เสียสละ สัจจะ กตเวที
(ที่มา : แผนยุทธศาสตร์คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ พ.ศ. 2565 – 2569 สถาบันพระบรมราชชนก)
ค่านิยม
” ว.ส.ส.ส.พ. ” & ” S C P H S “
- ว (S) = วินัย (Self Control)
- ส (C) = สร้างสรรค์ (Critical and Creation thinking)
- ส (P) = ส่งเสริมสุขภาวะด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Professional Practice)
- ส (H) = สง่างาม/สากล (Humanized Healthy Service)
- พ (S) = พัฒนาสู่มืออาชีพ (Smart / Skill of International)
วัฒนธรรมขององค์กร
- ทักทายด้วยการไหว้
- พูดจาไพเราะ
- ตรงต่อเวลา
- รับผิดชอบซื่อสัตย์
- การมีส่วนร่วม
- ปรารถนาดีต่อกัน
สมรรถนะบัณฑิตที่ตอบสนองอัตลักษณ์
วิทยาลัยฯ ได้กำหนดสมรรถนะบัณฑิตที่ตอบสนองอัตลักษณ์ คือ SAP (Service Mind, Analytical thinking, Participation) ซึ่งมีความหมาย ดังนี้
S A P
S = Service Mind (จิตบริการ) หมายถึง จิตที่พร้อมที่จะสละเวลา แรงกาย และสติปัญญาเพื่อสาธารณะประโยชน์
A = Analytical thinking (การคิดเชิงวิเคราะห์) หมายถึง ความสามารถในการจำแนก แจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งและหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น
P = Participation (การให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วม) หมายถึง การให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการวางแผนและปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
วิสัยทัศน์คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ พ.ศ. 2565 – 2569 สถาบันพระบรมราชชนก
คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ที่มุ่งสร้างกำลังคนด้านสุขภาพที่ดีที่สุด 1 ใน 10 ของประเทศไทยใน พ.ศ. 2569
พันธกิจของคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
พันธกิจที่ 1 ด้านการผลิตและพัฒนาบุคลากรที่เป็นเลิศ
พันธกิจที่ 2 ด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
พันธกิจที่ 3 ด้านบริการวิชาการและบริการด้านการแพทย์
พันธกิจที่ 4 ด้านการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
พันธกิจที่ 5 ด้านการบริหารจัดการองค์กรภายใต้หลักธรรมาภิบาล
แผนยุทธศาสตร์คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. 2565-2569
ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดการเรียนการสอนด้านสุขภาพสู่มาตรฐานสากล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตกําลังคนด้านสุขภาพที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สอดคล้องกับความต้องการของระบบสุขภาพชุมชน สังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 วิจัยสาธารณสุขในบริบทชุมชน และสร้างสรรค์นวัตกรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาวะของชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 บริการวิชาการและบริการสุขภาพอย่างมืออาชีพเพื่อสุขภาพชีวิตชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงภายใต้หลักธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะสูงในการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล
เป้าประสงค์
เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะการจัดการสุขภาวะบนพื้นฐานการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
เป้าประสงค์ที่ 2 อาจารย์มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานสากล
เป้าประสงค์ที่ 3 ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรมที่มีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติ
เป้าประสงค์ที่ 4 มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อพัฒนาสุขภาวะของชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ที่ 5 เป็นศูนย์บริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพและสุขภาวะชุมชน
เป้าประสงค์ที่ 6 เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพในการบริการวิชาการ
เป้าประสงค์ที่ 7 ผู้บริหารและบุคลากรของสถาบันมีสมรรถนะตามที่สถาบันกำหนด
เป้าประสงค์ที่ 8 เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
เป้าประสงค์ที่ 9 เป็นสถาบันที่มีการบริหารจัดการภายใต้องค์กรคุณธรรมทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และรักษ์สิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ที่ 4 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด Corporate KPIs ตามแผนยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดการเรียนการสอนด้านสุขภาพสู่มาตรฐานสากล
ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละอาจารย์ประจําคณะฯ ที่ดํารงตําแหน่งวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 1.2 ร้อยละของหลักสูตรการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ AUN-QA ในการประกันคุณภาพหลักสูตรด้วยคะแนนตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละของหลักสูตรการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ AUN-QA ในการประกันคุณภาพหลักสูตรด้วยคะแนนตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 1.4 ร้อยละของหลักสูตรการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ AUN-QA ในการประกันคุณภาพหลักสูตรด้วยคะแนนตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละของหลักสูตรการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ AUN-QA ในการประกันคุณภาพหลักสูตรด้วยคะแนนตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป
ยุทธศาสตร์ที่ 2 วิจัยสาธารณสุขในบริบทชุมชน และสร้างสรรค์นวัตกรรม
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของจํานวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ต่อจํานวนอาจารย์
ตัวชี้วัดที่ 2.2 จํานวนนวัตกรรมที่ได้รับรางวัล
ตัวชี้วัดที่ 2.3 จํานวนครั้งของผลงานวิจัยที่ถูกอ้างอิง (Citation per publication-5 years)
ตัวชี้วัดที่ 2.4 จํานวนเงินทุนวิจัยที่ได้การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 บริการวิชาการและบริการสุขภาพอย่างมืออาชีพเพื่อสุขภาพชีวิตชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของอัตราการเพิ่มขึ้นของเงินรายได้จากการบริการวิชาการ เมื่อเทียบกับปีงบประมาณที่ผ่านมา
ตัวชี้วัดที่ 3.2 จํานวนบุคลากรที่เป็นวิทยากร กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ปรึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงภายใต้หลักธรรมาภิบาล
ตัวชี้วัดที่ 4.1 คณะฯ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx 200)
ตัวชี้วัดที่ 4.2 ร้อยละของอาจารย์ประจําคณะฯ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ตัวชี้วัดที่ 4.3 คณะฯ ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Green Office) ระดับดี
กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 1 การเสริมสร้างอาจารย์เป็นมืออาชีพ (Professional Standard Framework : PSF)
กลยุทธ์ที่ 2 สร้างหลักสูตรด้านสุขภาพที่ตอบสนองความต้องการของสังคมได้มาตรฐานสากลตามเกณฑ์ AUN-QA
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบและกลไกบริหารจัดการด้านกิจการนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาทักษะของนักศึกษาด้านศตวรรษที่ 21 ด้านสาธารณสุข ยุคดิจิทัลพร้อมใช้ในการจัดการสุขภาวะชุมชนภายใต้อัตลักษณ์ของ สบช. บนพื้นฐานการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการในยุคดิจิทัลของนักศึกษา
กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาฐานข้อมูลศิษย์เก่าของคณะฯ และฐานข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
กลยุทธ์ที่ 7 ผลักดันให้มีการจัดสรรงบประมาณในงานกิจการนักศึกษา
กลยุทธ์ที่ 8 เร่งรัดและพัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานวิจัย ฐานข้อมูลงานวิจัยและความเชี่ยวชาญของนักวิจัยที่สนับสนุนผลงานการวิจัย ผลงานวิชาการ และนวัตกรรม
กลยุทธ์ที่ 9 พัฒนาศัยภาพนักวิจัย ให้มีสมรรถนะการขอทุนวิจัย/ตีพิมพ์วิจัยในต่างประเทศ
กลยุทธ์ที่ 10 สร้างระบบพี่เลี้ยงที่สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยในคณะฯ อย่างต่อเนื่อง
กลยุทธ์ที่ 11 พัฒนาเครือข่ายและสร้างระบบและกลไกการทำงานวิจัยร่วมกับเครือข่าย ทั้งภายในและภายนอกสถาบันฯ รวมถึงการดำเนินงานกับฝ่ายต่างประเทศ เพื่อการสนับสนุนทรัพยากรการดำเนินงานวิจัย
กลยุทธ์ที่ 12 พัฒนาระบบและกลไกสร้างความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ (Training center)
กลยุทธ์ที่ 13 สร้างหลักสูตรบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการชุมชนสร้างเสริม สนับสนุน สบช. โมเดล สู่ชุมชน
กลยุทธ์ที่ 14 พัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
กลยุทธ์ที่ 15 พัฒนาระบบและกลไกของการจัดสรรโควต้า (การคิดรอบสมัคร TCAS)
กลยุทธ์ที่ 16 พัฒนาศักยภาพของวิทยาลัยในการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
กลยุทธ์ที่ 17 การปรับปรุงกฎระเบียบด้านค่าใช้จ่ายเรื่องการจ่ายเงินบำรุงการศึกษา
กลยุทธ์ที่ 18 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ ให้มีสมรรถนะการจัดการการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ที่ 19 ส่งเสริมการสร้างรายได้การใช้พื้นที่และกิจกรรม
กลยุทธ์ที่ 20 เร่งรัดการออกระเบียบและกลไกที่เกี่ยวข้องให้สามารถจัดเก็บรายได้เข้าวิทยาลัยได้
กลยุทธ์ที่ 21 สร้างเสริมการดำเนินการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ
กลยุทธ์ที่ 22 สร้างเสริมการรักษ์สิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ที่ 23 การเตรียมพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน
สมรรถนะหลักของบัณฑิตสถาบันพระบรมราชชนก
Critical thinker : เป็นนักคิดวิเคราะห์
Communicator : เป็นนักสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
Collaborator : เป็นนักสานสัมพันธ์
Creator : เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม
Community Engagement : ผูกใจชุมชน